รูปภาพของผมครับ

วันพฤหัสบดีที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2556

บุหรี่กับโรคหัวใจ

    

                                              บุหรี่กับโรคหัวใจ



                                                                                           

บุหรี่เกี่ยวข้องกับโรคหัวใจแน่หรือ       บุหรี่เกี่ยวข้องกับโรคหัวใจแน่หรือ
จากรายงานการศึกษาในสหรัฐอเมริกาพบว่า ในกลุ่มผู้สูบหรี่จะมีโอกาสหรือความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจขาดเลือดมากกว่าคนไม่สูบบุหรี่ถึง 2.4 เท่า และโดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้สูบบุหรี่ที่เป็นโรคความดันเลือดสูงหรือมีไขมันในเลือดสูง จะเพิ่มความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจขาดเลือดถึง 1.5 เท่า แต่หากผู้สูบบุหรี่นั้นเป็นทั้งความดันเลือดสูงและไขมันในเลือดจะเสี่ยงต่อโรคหัวใจถึง 8 เท่าของคนทั่วไป
โดยเฉลี่ยแล้ว ผู้ติดบุหรี่จะทำให้เส้นเลือดเสื่อมและเกิดความตีบตันเร็วมากกว่าผู้ไม่สูบถึง 10-15 ปี
องค์การอนามัยโลกได้ระบุว่า ใน หรือร้อยละ 25 ของผู้ที่เสียชีวิตจากโรคเส้นเลือดหัวใจตีบเป็นผลจากการสูบบุหรี่
ในสตรีบุหรี่ที่ได้รับยาคุมกำเนิด จะเสี่ยงต่อการเป็นโรคเส้นเลือดหัวใจตีบมากกว่าสตรีทั่วไปถึงเกือบ 40 เท่า และยังเสี่ยงต่อการเกิดโรคเส้นเลือดสมองตีบและเกิดโรคระบบหลอดเลือดสูงกว่าสตรีทั่วไปด้วย
นอกจากนี้ มีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะหัวใจวายเฉียบพลันมากกว่าผู้ไม่สูบบุหรี่ถึง 10 เท่า โดยความเสี่ยงจะเพิ่มจากจำนวนบุหรี่ที่สูบ และในกลุ่มผู้ที่เกิดภาวะหัวใจวายเฉียบพลันนั้น ครึ่งหนึ่ง(ร้อยละห้าสิบ) จะเสียชีวิตในที่เกิดเหตุเลย และอีกร้อยละ 25จะไปเสียชีวิตที่โรงพยาบาล นั่นคือ หากเกิดภาวะหัวใจวายเฉียบพลันขึ้นแล้ว โอกาสจะมีชีวิตอยู่จะน้อยลง และมีปัญหาเรื่องคุณภาพชีวิตต่อไปด้วย "Your heart is your life" "หัวใจของคุณคือชีวิตของคุณ"
การสูบบุหรี่ทำให้เกิดโรคหัวใจได้อย่างไร
พยาธิกำเนิด หรือการเกิดโรคหัวใจ หรือโรคระบบหลอดเลือดที่เกี่ยวข้องกับบุหรี่เชื่อว่า มาจากสารนิโคตินและก็าซคาร์บอนมอนอกไซด์ที่พิสูจน์ได้ในสัตว์ทดลองส่วนสารอื่น  ในควันบุหรี่ที่เชื่อว่าเป็นสาเหตุร่วมคือสารแคดเมี่ยม ไนตริคออกไซด์ ไฮโดรเจนไซยาไนด์คาร์บอนไดซัลไฟด์ สารเหล่านี้ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภายในเส้นเลือดที่นำไปสู่การที่เกิดเส้นเลือดหัวใจตีบคือเกิดเส้นเลือดแข็งผนังเส้นเลือดหนา เกร็ดเลือดจับตัวเส้นเลือดหัวใจหดตัว หัวใจเต้นไม่ปกติ ผลคือ ทำให้เลือดเลี้ยงหัวใจไม่เพียงพอ หัวใจขาดออกซิเจน เกิดภาวะหัวใจวายเฉียบพลันได้ นอกจากนี้หากเกิดกับเส้นเลือดที่ไปเสี้ยงมองก็จะทำให้สมองขาดออกซิเจนเช่นกันเป็นผลให้สมองเสื่อมสภาพ นำไปสู่การเป็นอัมพฤต อัมพาต หากเกิดกับเส้นเลือดที่แขน ขา จะทำให้ปวดขามากเวลาเดินเพราะกล้ามเนื้อขาดออกซิเจนอาจนำไปสู่การเน่าของแขน ขา ถึงกับต้องตัดขาได้
นอกจากการสูบบุหรี่แล้ว สาเหตุอื่นของโรคเส้นเลือดหัวใจตีบคือ โรคความดันเลือดสูง ไขมันเลือดสูง เบาหวาน โดยการสูบบุหรี่จะเป็นตัวเร่งให้ผู้ที่เป็นเหล่านี้เกิดการตีบตันของเส้นเลือดเร็วขึ้
สารพิษอะไรในบุหรี่ที่มีผลต่อหัวใจ
ควันบุหรี่ประกอบด้วยสารต่าง ๆ ไม่ต่ำกว่า 4,000 ชนิด ซึ่งอยู่ภายในใบยาสูบและเกิดจากปฏิกิริยาทางเคมี สารเคมีหลักที่ทำให้เกิดผลต่อหัวใจคือ
รูปหัวใจ
ในส่วนของผู้ที่เป็นโรคเส้นเลือดตีบแล้ว บางครั้งต้องใช้ศัลยกรรมช่วยแก้ไข ตัดต่อเส้นเลือด และหากผ่าตัดแล้ว ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะได้รับคำแนะนำ (แกมบังคับ) ให้เลิกบุหรี่ พบว่าหากผ่าตัดแล้วยังสูบบุหรี่ต่อโอกาสเกิดเส้นเลือดตับตันอีกจะสูงมาก และอัตราการรอดชีวิตจะต่ำกว่าผู้ที่เลิกบุหรี่ได้
1. นิโคติน เป็นสารเสพติด สารที่ทำให้คนติดบุหรี่ และเมื่อดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือดจะมีผลโดยตรงต่อสมองและต่อมหมวกไต ทำให้มีการหลั่งสารต่าง ๆ ออกมา เช่น นอร์อดรีนาลิน โดปามิน ชีโรโทนินิ เกิดปฏิกิริยาขึ้นหลายอย่าง มีการกด-กล่อมประสาทความดันเลือดสูงขึ้น ทำใจเต้นเร็วขึ้นเส้นเลือดแดงหดตัว ซึ่งเป็นปัจจจัยที่ทำให้เส้นเลือดหัวใจตีบ ลิ้นของหัวใจมีการตีบตันจากกลิ่มเลือดและเกล็ดเลือดไปจับตัวกันมีการหนาตัวขึ้นขยายผนังด้านในทำให้ระบบไหลเวียนไม่เป็นไปตามปกติ ซึ่งเป็นผลมาจากบุหรี่
2. คาร์บอนมอนนอกไซด์ ในควันบุหรี่ประกอบด้วยคาร์บอนมอนอกไซด์ในปริมาณสูงและสามารถดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือดได้อย่างรวดเร็วมีความสามารถในการแย่งที่ออกซิเจนในการจับกับเม็ดเลือดแดง ทำให้ร่างกายรับออกซิเจนน้อยลง ทำให้หัวใจทำงานหนักขึ้น
3. สารไทโอไซยาเทน พบสารไทโอไซยาเนทในปริมาณสูง สารนี้เมื่อถูกดูดซึมเข้ากระแสเลือดแล้ว จะถูกทำลายพิษที่ตับและสะสมในร่างกาย เช่นในน้ำลาย ปัสสาวะ เลือด เราจึงสามารถนำน้ำลายเลือด มาตรวจในผู้ที่สูบบุหรี่ได้
การเลิกสูบบุหรี่จะช่วยให้โรคหัวใจดีขึ้นหรือไม่

ในผู้สูบบุหรี่น้อยกว่า 20 มวนต่อวัน การหยุดสูบบุหรี่จะลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตทางโรคหัวใจขาดเลือดและถ้าหากเลิกสูบบุหรี่เป็นเวลามากกว่า 10 ปี จะมีโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจเท่ากับผู้ที่ไม่สูบบุหรี่ส่วนผู้ที่เคยเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบหรือหัวใจขาดเลือดหากเลิกบุหรี่จะลดอัตราตายลงได้ ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจซ้ำอีก
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2526 ประธานศัลยแพทย์ของสหรัฐอเมริกาสรุปว่า "การสูบบุหรี่เป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญของโรคหลอดเลือดหัวใจตีบทั้งชายและหญิงของสหรัฐอเมริกานั่นคือ การไม่สูบบุหรี่จะเป็นการลดอัตราเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจที่สำคัญที่สุดและในผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบแล้ว การเลิกสูบบุหรี่จะเป็นการลดอัตราการเกิดโรคซ้ำและลดอัตราตายได้

ถ้าคุณยังไม่อยากเลิกสูบบุหรี่ควรทำอย่างไร
1. สูบบุหรี่ในบริเวณที่จัดเป็นเขตสูบบุหรี่ได้เท่านั้นไม่ควรสูบในเขตปลอดบุหรี่ เช่น สถานที่ราชการ ธนาคาร รถโดยสาร สรรพสินค้า
2. หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ต่อหน้าบุตรหรือภรรยาเพราะนอกจากบุคคลใกล้ชิดจะได้รับควันหลงหรือสูบบุหรี่มือสองที่นอกจากจะทำให้เกิดโรคและพิษภัย เช่นเดียวกับผู้สูบแล้ว บุตรจะมีพฤติกรรมเลียนแบบบิดามารดาในอนาคตอันใกล้อีกด้วย
ถ้าคุณอยากเลิกสูบบุหรี่ควรทำอย่างไร
1.        ตั้งใจ ตัดสินใจ แน่วแน่ ว่าต้องการเลิกบุหรี่ด้วยตนเอง
2.        กำหนดวัน "ปลอดบุหรี่ของตนเอง อาจเป็นวันสำคัญของศาสนา วันเกิดตนเองหรือบุตร ภรรยาไม่ควรเลือกช่วงเวลาที่งานเครียด
3.        ทิ้งบุหรี่และอุปกรณ์ทั้งหมด เพื่อมิให้สิ่งเหล่านี้มากระตุ้นความอยากบุหรี่อีก
4.        แจ้งแก่คนในครอบครัวที่ทำงาน นายจ้าง เพื่อนสนิท เพื่อร่วมงาน เพื่อให้เป็นกำลังใจ เป็นแรงสนับสนุนให้เลิกได้สำเร็จ
5.        ให้งดสุรา กาแฟ อาหารรสจัด ละเว้นการรับประทานอาหารให้อิ่มเกินไป ไม่ควรนั่งโต๊ะอาหารนาน ๆ เพราะหลังอาหารทุกมื้อจะเกิดความอยากบุหรี่อีก
6.        ในช่วงแรกที่อดบุหรี่จะรู้สึกหงุดหงิด ให้สูดหายใจเข้า-ออกลึก ๆ ดื่มน้ำมาก ๆ เพื่อลดความอยากหรืออาจอาบน้ำ
7.        ออกกำลังกายสม่ำเสมอ หางานอดิเรกทำเพื่อคลายเครียด เพราะส่วนใหญ่หลังเลิกบุหรี่น้ำหนักตัวจะขึ้นการออกกำลังกาย ควบคุมอาหาร ลดอาหารหวาน จะเป็นการควบคุมน้ำหนักได้ทางหนึ่ง


เอกสารเผยแพร่ของสถาบันควบคุมการบริโภคยาสูบ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข

จากรายงานการศึกษาในสหรัฐอเมริกาพบว่า ในกลุ่มผู้สูบหรี่จะมีโอกาสหรือความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจขาดเลือดมากกว่าคนไม่สูบบุหรี่ถึง 2.4 เท่า และโดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้สูบบุหรี่ที่เป็นโรคความดันเลือดสูงหรือมีไขมันในเลือดสูง จะเพิ่มความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจขาดเลือดถึง 1.5 เท่า แต่หากผู้สูบบุหรี่นั้นเป็นทั้งความดันเลือดสูงและไขมันในเลือดจะเสี่ยงต่อโรคหัวใจถึง เท่าของคนทั่วไป
โดยเฉลี่ยแล้ว ผู้ติดบุหรี่จะทำให้เส้นเลือดเสื่อมและเกิดความตีบตันเร็วมากกว่าผู้ไม่สูบถึง 10-15 ปี
องค์การอนามัยโลกได้ระบุว่า ใน หรือร้อยละ 25 ของผู้ที่เสียชีวิตจากโรคเส้นเลืบุหรี่เกี่ยวข้องกับโรคหัวใจแน่หรือ
จากรายงานการศึกษาในสหรัฐอเมริกาพบว่า ในกลุ่มผู้สูบหรี่จะมีโอกาสหรือความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจขาดเลือดมากกว่าคนไม่สูบบุหรี่ถึง 2.4 เท่า และโดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้สูบบุหรี่ที่เป็นโรคความดันเลือดสูงหรือมีไขมันในเลือดสูง จะเพิ่มความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจขาดเลือดถึง 1.5 เท่า แต่หากผู้สูบบุหรี่นั้นเป็นทั้งความดันเลือดสูงและไขมันในเลือดจะเสี่ยงต่อโรคหัวใจถึง 8 เท่าของคนทั่วไป
โดยเฉลี่ยแล้ว ผู้ติดบุหรี่จะทำให้เส้นเลือดเสื่อมและเกิดความตีบตันเร็วมากกว่าผู้ไม่สูบถึง 10-15 ปี
องค์การอนามัยโลกได้ระบุว่า ใน หรือร้อยละ 25 ของผู้ที่เสียชีวิตจากโรคเส้นเลือดหัวใจตีบเป็นผลจากการสูบบุหรี่
ในสตรีบุหรี่ที่ได้รับยาคุมกำเนิด จะเสี่ยงต่อการเป็นโรคเส้นเลือดหัวใจตีบมากกว่าสตรีทั่วไปถึงเกือบ 40 เท่า และยังเสี่ยงต่อการเกิดโรคเส้นเลือดสมองตีบและเกิดโรคระบบหลอดเลือดสูงกว่าสตรีทั่วไปด้วย
นอกจากนี้ มีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะหัวใจวายเฉียบพลันมากกว่าผู้ไม่สูบบุหรี่ถึง 10 เท่า โดยความเสี่ยงจะเพิ่มจากจำนวนบุหรี่ที่สูบ และในกลุ่มผู้ที่เกิดภาวะหัวใจวายเฉียบพลันนั้น ครึ่งหนึ่ง(ร้อยละห้าสิบ) จะเสียชีวิตในที่เกิดเหตุเลย และอีกร้อยละ 25จะไปเสียชีวิตที่โรงพยาบาล นั่นคือ หากเกิดภาวะหัวใจวายเฉียบพลันขึ้นแล้ว โอกาสจะมีชีวิตอยู่จะน้อยลง และมีปัญหาเรื่องคุณภาพชีวิตต่อไปด้วย "Your heart is your life" "หัวใจของคุณคือชีวิตของคุณ"
การสูบบุหรี่ทำให้เกิดโรคหัวใจได้อย่างไร
พยาธิกำเนิด หรือการเกิดโรคหัวใจ หรือโรคระบบหลอดเลือดที่เกี่ยวข้องกับบุหรี่เชื่อว่า มาจากสารนิโคตินและก็าซคาร์บอนมอนอกไซด์ที่พิสูจน์ได้ในสัตว์ทดลองส่วนสารอื่น  ในควันบุหรี่ที่เชื่อว่าเป็นสาเหตุร่วมคือสารแคดเมี่ยม ไนตริคออกไซด์ ไฮโดรเจนไซยาไนด์คาร์บอนไดซัลไฟด์ สารเหล่านี้ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภายในเส้นเลือดที่นำไปสู่การที่เกิดเส้นเลือดหัวใจตีบคือเกิดเส้นเลือดแข็งผนังเส้นเลือดหนา เกร็ดเลือดจับตัวเส้นเลือดหัวใจหดตัว หัวใจเต้นไม่ปกติ ผลคือ ทำให้เลือดเลี้ยงหัวใจไม่เพียงพอ หัวใจขาดออกซิเจน เกิดภาวะหัวใจวายเฉียบพลันได้ นอกจากนี้หากเกิดกับเส้นเลือดที่ไปเสี้ยงมองก็จะทำให้สมองขาดออกซิเจนเช่นกันเป็นผลให้สมองเสื่อมสภาพ นำไปสู่การเป็นอัมพฤต อัมพาต หากเกิดกับเส้นเลือดที่แขน ขา จะทำให้ปวดขามากเวลาเดินเพราะกล้ามเนื้อขาดออกซิเจนอาจนำไปสู่การเน่าของแขน ขา ถึงกับต้องตัดขาได้
นอกจากการสูบบุหรี่แล้ว สาเหตุอื่นของโรคเส้นเลือดหัวใจตีบคือ โรคความดันเลือดสูง ไขมันเลือดสูง เบาหวาน โดยการสูบบุหรี่จะเป็นตัวเร่งให้ผู้ที่เป็นเหล่านี้เกิดการตีบตันของเส้นเลือดเร็วขึ้
สารพิษอะไรในบุหรี่ที่มีผลต่อหัวใจ
ควันบุหรี่ประกอบด้วยสารต่าง ๆ ไม่ต่ำกว่า 4,000 ชนิด ซึ่งอยู่ภายในใบยาสูบและเกิดจากปฏิกิริยาทางเคมี สารเคมีหลักที่ทำให้เกิดผลต่อหัวใจคือ
รูปหัวใจ
ในส่วนของผู้ที่เป็นโรคเส้นเลือดตีบแล้ว บางครั้งต้องใช้ศัลยกรรมช่วยแก้ไข ตัดต่อเส้นเลือด และหากผ่าตัดแล้ว ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะได้รับคำแนะนำ (แกมบังคับ) ให้เลิกบุหรี่ พบว่าหากผ่าตัดแล้วยังสูบบุหรี่ต่อโอกาสเกิดเส้นเลือดตับตันอีกจะสูงมาก และอัตราการรอดชีวิตจะต่ำกว่าผู้ที่เลิกบุหรี่ได้
1. นิโคติน เป็นสารเสพติด สารที่ทำให้คนติดบุหรี่ และเมื่อดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือดจะมีผลโดยตรงต่อสมองและต่อมหมวกไต ทำให้มีการหลั่งสารต่าง ๆ ออกมา เช่น นอร์อดรีนาลิน โดปามิน ชีโรโทนินิ เกิดปฏิกิริยาขึ้นหลายอย่าง มีการกด-กล่อมประสาทความดันเลือดสูงขึ้น ทำใจเต้นเร็วขึ้นเส้นเลือดแดงหดตัว ซึ่งเป็นปัจจจัยที่ทำให้เส้นเลือดหัวใจตีบ ลิ้นของหัวใจมีการตีบตันจากกลิ่มเลือดและเกล็ดเลือดไปจับตัวกันมีการหนาตัวขึ้นขยายผนังด้านในทำให้ระบบไหลเวียนไม่เป็นไปตามปกติ ซึ่งเป็นผลมาจากบุหรี่
2. คาร์บอนมอนนอกไซด์ ในควันบุหรี่ประกอบด้วยคาร์บอนมอนอกไซด์ในปริมาณสูงและสามารถดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือดได้อย่างรวดเร็วมีความสามารถในการแย่งที่ออกซิเจนในการจับกับเม็ดเลือดแดง ทำให้ร่างกายรับออกซิเจนน้อยลง ทำให้หัวใจทำงานหนักขึ้น
3. สารไทโอไซยาเทน พบสารไทโอไซยาเนทในปริมาณสูง สารนี้เมื่อถูกดูดซึมเข้ากระแสเลือดแล้ว จะถูกทำลายพิษที่ตับและสะสมในร่างกาย เช่นในน้ำลาย ปัสสาวะ เลือด เราจึงสามารถนำน้ำลายเลือด มาตรวจในผู้ที่สูบบุหรี่ได้
การเลิกสูบบุหรี่จะช่วยให้โรคหัวใจดีขึ้นหรือไม่

ในผู้สูบบุหรี่น้อยกว่า 20 มวนต่อวัน การหยุดสูบบุหรี่จะลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตทางโรคหัวใจขาดเลือดและถ้าหากเลิกสูบบุหรี่เป็นเวลามากกว่า 10 ปี จะมีโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจเท่ากับผู้ที่ไม่สูบบุหรี่ส่วนผู้ที่เคยเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบหรือหัวใจขาดเลือดหากเลิกบุหรี่จะลดอัตราตายลงได้ ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจซ้ำอีก
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2526 ประธานศัลยแพทย์ของสหรัฐอเมริกาสรุปว่า "การสูบบุหรี่เป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญของโรคหลอดเลือดหัวใจตีบทั้งชายและหญิงของสหรัฐอเมริกานั่นคือ การไม่สูบบุหรี่จะเป็นการลดอัตราเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจที่สำคัญที่สุดและในผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบแล้ว การเลิกสูบบุหรี่จะเป็นการลดอัตราการเกิดโรคซ้ำและลดอัตราตายได้

ถ้าคุณยังไม่อยากเลิกสูบบุหรี่ควรทำอย่างไร
1. สูบบุหรี่ในบริเวณที่จัดเป็นเขตสูบบุหรี่ได้เท่านั้นไม่ควรสูบในเขตปลอดบุหรี่ เช่น สถานที่ราชการ ธนาคาร รถโดยสาร สรรพสินค้า
2. หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ต่อหน้าบุตรหรือภรรยาเพราะนอกจากบุคคลใกล้ชิดจะได้รับควันหลงหรือสูบบุหรี่มือสองที่นอกจากจะทำให้เกิดโรคและพิษภัย เช่นเดียวกับผู้สูบแล้ว บุตรจะมีพฤติกรรมเลียนแบบบิดามารดาในอนาคตอันใกล้อีกด้วย
ถ้าคุณอยากเลิกสูบบุหรี่ควรทำอย่างไร
1.        ตั้งใจ ตัดสินใจ แน่วแน่ ว่าต้องการเลิกบุหรี่ด้วยตนเอง
2.        กำหนดวัน "ปลอดบุหรี่ของตนเอง อาจเป็นวันสำคัญของศาสนา วันเกิดตนเองหรือบุตร ภรรยาไม่ควรเลือกช่วงเวลาที่งานเครียด
3.        ทิ้งบุหรี่และอุปกรณ์ทั้งหมด เพื่อมิให้สิ่งเหล่านี้มากระตุ้นความอยากบุหรี่อีก
4.        แจ้งแก่คนในครอบครัวที่ทำงาน นายจ้าง เพื่อนสนิท เพื่อร่วมงาน เพื่อให้เป็นกำลังใจ เป็นแรงสนับสนุนให้เลิกได้สำเร็จ
5.        ให้งดสุรา กาแฟ อาหารรสจัด ละเว้นการรับประทานอาหารให้อิ่มเกินไป ไม่ควรนั่งโต๊ะอาหารนาน ๆ เพราะหลังอาหารทุกมื้อจะเกิดความอยากบุหรี่อีก
6.        ในช่วงแรกที่อดบุหรี่จะรู้สึกหงุดหงิด ให้สูดหายใจเข้า-ออกลึก ๆ ดื่มน้ำมาก ๆ เพื่อลดความอยากหรืออาจอาบน้ำ
7.        ออกกำลังกายสม่ำเสมอ หางานอดิเรกทำเพื่อคลายเครียด เพราะส่วนใหญ่หลังเลิกบุหรี่น้ำหนักตัวจะขึ้นการออกกำลังกาย ควบคุมอาหาร ลดอาหารหวาน จะเป็นการควบคุมน้ำหนักได้ทางหนึ่ง


เอกสารเผยแพร่ของสถาบันควบคุมการบริโภคยาสูบ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
อดหัวใจตีบเป็นผลจากการสูบบุหรี่
ในสตรีบุหรี่ที่ได้รับยาคุมกำเนิด จะเสี่ยงต่อการเป็นโรคเส้นเลือดหัวใจตีบมากกว่าสตรีทั่วไปถึงเกือบ 40 เท่า และยังเสี่ยงต่อการเกิดโรคเส้นเลือดสมองตีบและเกิดโรคระบบหลอดเลือดสูงกว่าสตรีทั่วไปด้วย
นอกจากนี้ มีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะหัวใจวายเฉียบพลันมากกว่าผู้ไม่สูบบุหรี่ถึง 10 เท่า โดยความเสี่ยงจะเพิ่มจากจำนวนบุหรี่ที่สูบ และในกลุ่มผู้ที่เกิดภาวะหัวใจวายเฉียบพลันนั้น ครึ่งหนึ่ง(ร้อยละห้าสิบ) จะเสียชีวิตในที่เกิดเหตุเลย และอีกร้อยละ 25จะไปเสียชีวิตที่โรงพยาบาล นั่นคือ หากเกิดภาวะหัวใจวายเฉียบพลันขึ้นแล้ว โอกาสจะมีชีวิตอยู่จะน้อยลง และมีปัญหาเรื่องคุณภาพชีวิตต่อไปด้วย "Your heart is your life" "หัวใจของคุณคือชีวิตของคุณ"
การสูบบุหรี่ทำให้เกิดโรคหัวใจได้อย่างไร
พยาธิกำเนิด หรือการเกิดโรคหัวใจ หรือโรคระบบหลอดเลือดที่เกี่ยวข้องกับบุหรี่เชื่อว่า มาจากสารนิโคตินและก็าซคาร์บอนมอนอกไซด์ที่พิสูจน์ได้ในสัตว์ทดลองส่วนสารอื่น ๆ ในควันบุหรี่ที่เชื่อว่าเป็นสาเหตุร่วมคือสารแคดเมี่ยม ไนตริคออกไซด์ ไฮโดรเจนไซยาไนด์คาร์บอนไดซัลไฟด์ สารเหล่านี้ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภายในเส้นเลือดที่นำไปสู่การที่เกิดเส้นเลือดหัวใจตีบคือเกิดเส้นเลือดแข็ง ผนังเส้นเลือดหนา เกร็ดเลือดจับตัวเส้นเลือดหัวใจหดตัว หัวใจเต้นไม่ปกติ ผลคือ ทำให้เลือดเลี้ยงหัวใจไม่เพียงพอ หัวใจขาดออกซิเจน เกิดภาวะหัวใจวายเฉียบพลันได้ นอกจากนี้หากเกิดกับเส้นเลือดที่ไปเสี้ยงมองก็จะทำให้สมองขาดออกซิเจนเช่นกันเป็นผลให้สมองเสื่อมสภาพ นำไปสู่การเป็นอัมพฤต อัมพาต หากเกิดกับเส้นเลือดที่แขน ขา จะทำให้ปวดขามากเวลาเดินเพราะกล้ามเนื้อขาดออกซิเจน อาจนำไปสู่การเน่าของแขน ขา ถึงกับต้องตัดขาได้
นอกจากการสูบบุหรี่แล้ว สาเหตุอื่นของโรคเส้นเลือดหัวใจตีบคือ โรคความดันเลือดสูง ไขมันเลือดสูง เบาหวาน โดยการสูบบุหรี่จะเป็นตัวเร่งให้ผู้ที่เป็นเหล่านี้เกิดการตีบตันของเส้นเลือดเร็วขึ้
สารพิษอะไรในบุหรี่ที่มีผลต่อหัวใจ
ควันบุหรี่ประกอบด้วยสารต่าง ๆ ไม่ต่ำกว่า 4,000 ชนิด ซึ่งอยู่ภายในใบยาสูบและเกิดจากปฏิกิริยาทางเคมี สารเคมีหลักที่ทำให้เกิดผลต่อหัวใจคือ
รูปหัวใจ
ในส่วนของผู้ที่เป็นโรคเส้นเลือดตีบแล้ว บางครั้งต้องใช้ศัลยกรรมช่วยแก้ไข ตัดต่อเส้นเลือด และหากผ่าตัดแล้ว ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะได้รับคำแนะนำ (แกมบังคับ) ให้เลิกบุหรี่ พบว่าหากผ่าตัดแล้วยังสูบบุหรี่ต่อโอกาสเกิดเส้นเลือดตับตันอีกจะสูงมาก และอัตราการรอดชีวิตจะต่ำกว่าผู้ที่เลิกบุหรี่ได้
1. นิโคติน เป็นสารเสพติด สารที่ทำให้คนติดบุหรี่ และเมื่อดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือดจะมีผลโดยตรงต่อสมองและต่อมหมวกไต ทำให้มีการหลั่งสารต่าง ๆ ออกมา เช่น นอร์อดรีนาลิน โดปามิน ชีโรโทนินิ เกิดปฏิกิริยาขึ้นหลายอย่าง มีการกด-กล่อมประสาท ความดันเลือดสูงขึ้น ทำใจเต้นเร็วขึ้นเส้นเลือดแดงหดตัว ซึ่งเป็นปัจจจัยที่ทำให้เส้นเลือดหัวใจตีบ ลิ้นของหัวใจมีการตีบตันจากกลิ่มเลือดและเกล็ดเลือดไปจับตัวกันมีการหนาตัวขึ้นขยายผนังด้านในทำให้ระบบไหลเวียนไม่เป็นไปตามปกติ ซึ่งเป็นผลมาจากบุหรี่
2. คาร์บอนมอนนอกไซด์ ในควันบุหรี่ประกอบด้วยคาร์บอนมอนอกไซด์ในปริมาณสูงและสามารถดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือดได้อย่างรวดเร็วมีความสามารถในการแย่งที่ออกซิเจนในการจับกับเม็ดเลือดแดง ทำให้ร่างกายรับออกซิเจนน้อยลง ทำให้หัวใจทำงานหนักขึ้น
3. สารไทโอไซยาเทน พบสารไทโอไซยาเนทในปริมาณสูง สารนี้เมื่อถูกดูดซึมเข้ากระแสเลือดแล้ว จะถูกทำลายพิษที่ตับและสะสมในร่างกาย เช่นในน้ำลาย ปัสสาวะ เลือด เราจึงสามารถนำน้ำลายเลือด มาตรวจในผู้ที่สูบบุหรี่ได้
การเลิกสูบบุหรี่จะช่วยให้โรคหัวใจดีขึ้นหรือไม่

ในผู้สูบบุหรี่น้อยกว่า 20 มวนต่อวัน การหยุดสูบบุหรี่จะลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตทางโรคหัวใจขาดเลือดและถ้าหากเลิกสูบบุหรี่เป็นเวลามากกว่า 10 ปี จะมีโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจเท่ากับผู้ที่ไม่สูบบุหรี่ส่วนผู้ที่เคยเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบหรือหัวใจขาดเลือดหากเลิกบุหรี่จะลดอัตราตายลงได้ ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจซ้ำอีก
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2526 ประธานศัลยแพทย์ของสหรัฐอเมริกาสรุปว่า "การสูบบุหรี่เป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญของโรคหลอดเลือดหัวใจตีบทั้งชายและหญิงของสหรัฐอเมริกานั่นคือ การไม่สูบบุหรี่จะเป็นการลดอัตราเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจที่สำคัญที่สุดและในผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบแล้ว การเลิกสูบบุหรี่จะเป็นการลดอัตราการเกิดโรคซ้ำและลดอัตราตายได้

ถ้าคุณยังไม่อยากเลิกสูบบุหรี่ควรทำอย่างไร
1. สูบบุหรี่ในบริเวณที่จัดเป็นเขตสูบบุหรี่ได้เท่านั้นไม่ควรสูบในเขตปลอดบุหรี่ เช่น สถานที่ราชการ ธนาคาร รถโดยสาร สรรพสินค้า
2. หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ต่อหน้าบุตรหรือภรรยาเพราะนอกจากบุคคลใกล้ชิดจะได้รับควันหลงหรือสูบบุหรี่มือสองที่นอกจากจะทำให้เกิดโรคและพิษภัย เช่นเดียวกับผู้สูบแล้ว บุตรจะมีพฤติกรรมเลียนแบบบิดามารดาในอนาคตอันใกล้อีกด้วย
ถ้าคุณอยากเลิกสูบบุหรี่ควรทำอย่างไร
1.        ตั้งใจ ตัดสินใจ แน่วแน่ ว่าต้องการเลิกบุหรี่ด้วยตนเอง
2.        กำหนดวัน "ปลอดบุหรี่ของตนเอง อาจเป็นวันสำคัญของศาสนา วันเกิดตนเองหรือบุตร ภรรยาไม่ควรเลือกช่วงเวลาที่งานเครียด
3.        ทิ้งบุหรี่และอุปกรณ์ทั้งหมด เพื่อมิให้สิ่งเหล่านี้มากระตุ้นความอยากบุหรี่อีก
4.        แจ้งแก่คนในครอบครัวที่ทำงาน นายจ้าง เพื่อนสนิท เพื่อร่วมงาน เพื่อให้เป็นกำลังใจ เป็นแรงสนับสนุนให้เลิกได้สำเร็จ
5.        ให้งดสุรา กาแฟ อาหารรสจัด ละเว้นการรับประทานอาหารให้อิ่มเกินไป ไม่ควรนั่งโต๊ะอาหารนาน ๆ เพราะหลังอาหารทุกมื้อจะเกิดความอยากบุหรี่อีก
6.        ในช่วงแรกที่อดบุหรี่จะรู้สึกหงุดหงิด ให้สูดหายใจเข้า-ออกลึก ๆ ดื่มน้ำมาก ๆ เพื่อลดความอยากหรืออาจอาบน้ำ
7.        ออกกำลังกายสม่ำเสมอ หางานอดิเรกทำเพื่อคลายเครียด เพราะส่วนใหญ่หลังเลิกบุหรี่น้ำหนักตัวจะขึ้นการออกกำลังกาย ควบคุมอาหาร ลดอาหารหวาน จะเป็นการควบคุมน้ำหนักได้ทางหนึ่ง

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น